หนังสือปกอ่อน
฿ 441.00
490.00
ประหยัด 10 %
Barcode : 9789740343004
ISBN : 9789740343004
ปีพิมพ์ : 1 / 2567
ขนาด ( w x h ) : 190 x 260 mm.
จำนวนหน้า : 460 หน้า
หมวดหนังสือ : รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง
ถ้ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การดำเนินการ หรือการปฏิบัติการและการทำหน้าที่ของรัฐบาลและองค์การต่างๆ ในภาครัฐ
ดังนั้น ลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพในทางรัฐประศาสนศาสตร์ก็จะมีลักษณะดังต่อไปนี้
-ลักษณะประการแรก คือ เป็นการวิจัยเกี่ยวกับภาครัฐ
-ลักษณะประการที่สอง การวิจัยที่เกิดขึ้นต้องเป็นการวิจัยประยุกต์ ที่ให้น้ำหนักไปที่ข้อค้นพบแนวทางการแก้ไขปัญหา ที่ปัญหาต่างๆ ดังกล่าวเกิดขึ้นในภารรัฐ
ลักษณะประการที่สาม เนื่องจากศาสตร์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ยังเป็นศาสตร์ที่เรียกว่า “Young Discipline” ที่เกิดมาจาก “Parent Discipline” อันได้แก่ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และสังคมวิทยา
ดังนั้นจึงมีองค์ความรู้ที่จำกัด ในแง่ดังกล่าว จึงมีทฤษฎีขนาดใหญ่น้อยมาก
สำหรับเทคนิควิธีการที่นำมาใช้ในงานวิจัย จึงเหมาะกับการศึกษาที่มีจำนวนกรณีศึกษาไม่มาก นอกจากนี้การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีแนวโน้มที่จะดำเนินการในการวิจัยตามการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่เกิดขึ้นในภาครัฐ
เมื่อเป็นเช่นนี้ ทางผู้เขียนจึงเห็นว่า ตำราหรือหนังสือเล่มนี้จึงน่าจะมีคุณค่าและมีประโยชน์กับนักวิจัยหรือนักศึกษาปริญญาโทหรือปริญญาเอกที่สนใจในการวิจัยเชิงคุณภาพทางรัฐประศาสนศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะในแวดวงการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทยยังขาดแคลนตำราหรือหนังสือทำนองนี้อย่างมาก
ถ้ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การดำเนินการ หรือการปฏิบัติการและการทำหน้าที่ของรัฐบาลและองค์การต่างๆ ในภาครัฐ
ดังนั้น ลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพในทางรัฐประศาสนศาสตร์ก็จะมีลักษณะดังต่อไปนี้
-ลักษณะประการแรก คือ เป็นการวิจัยเกี่ยวกับภาครัฐ
-ลักษณะประการที่สอง การวิจัยที่เกิดขึ้นต้องเป็นการวิจัยประยุกต์ ที่ให้น้ำหนักไปที่ข้อค้นพบแนวทางการแก้ไขปัญหา ที่ปัญหาต่างๆ ดังกล่าวเกิดขึ้นในภารรัฐ
ลักษณะประการที่สาม เนื่องจากศาสตร์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ยังเป็นศาสตร์ที่เรียกว่า “Young Discipline” ที่เกิดมาจาก “Parent Discipline” อันได้แก่ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และสังคมวิทยา
ดังนั้นจึงมีองค์ความรู้ที่จำกัด ในแง่ดังกล่าว จึงมีทฤษฎีขนาดใหญ่น้อยมาก
สำหรับเทคนิควิธีการที่นำมาใช้ในงานวิจัย จึงเหมาะกับการศึกษาที่มีจำนวนกรณีศึกษาไม่มาก นอกจากนี้การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีแนวโน้มที่จะดำเนินการในการวิจัยตามการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่เกิดขึ้นในภาครัฐ
เมื่อเป็นเช่นนี้ ทางผู้เขียนจึงเห็นว่า ตำราหรือหนังสือเล่มนี้จึงน่าจะมีคุณค่าและมีประโยชน์กับนักวิจัยหรือนักศึกษาปริญญาโทหรือปริญญาเอกที่สนใจในการวิจัยเชิงคุณภาพทางรัฐประศาสนศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะในแวดวงการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทยยังขาดแคลนตำราหรือหนังสือทำนองนี้อย่างมาก